ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletเปรียบเทียบรายการวัสดุ
bulletวัสดุสร้างบ้าน รุ่นมาตรฐาน
bulletวัสดุสร้างบ้าน รุ่นคลาสสิค
bulletวัสดุสร้างบ้าน รุ่นพรีเมี่ยม
dot
dot
bulletแบบบ้านชั้นเดียว
bulletแบบบ้านสองชั้น
bulletแบบบ้านชั้นครึ่ง
bulletรวมแบบบ้าน
bulletแบบบ้าน Small
bulletแบบบ้าน 2 ชั้น สไตล์โมเดิร์น
bulletแบบบ้านชั้นเดียวสไตล์โมเดิร์น
bulletรวมแบบบ้านสไตล์นอร์ดิก (Nordic Style)
dot
dot
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 1
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 2
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 3
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 4
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 5
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 6
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 7
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 8
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 9
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 10
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 11
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 12
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 13
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 14
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 15
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 16
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 17
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 18
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 19
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 20
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 21
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 22
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 23
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 24
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 25
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 26
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 27
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 28
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 29
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 30
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 31
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 32
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 33
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 34
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 35
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 36
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 37
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 38
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 39
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 40
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 41
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 42
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 44
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 43
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 45
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 46
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 47
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 48
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 49
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 50
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 51
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 52
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 53
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 54
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 55
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 56
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 57
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 58
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 59
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 60
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 61-120
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 121-180
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 181-240
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 241-300
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 301-367
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ 368-417
dot
dot
bulletPromotion
dot
dot
dot
dot
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 1
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 2
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 3
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 4
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 5
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 6
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 7
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 8
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 9
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 10
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 11
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 12
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 13
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 14
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 15
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 16
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 17
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 19
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 21
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 22
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 24
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 29
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 33
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 34
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 35
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 36
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 37
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 38
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 39
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 40
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 41
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 42
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 43
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 44
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 45
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 47
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 51
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 54
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 55
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 56
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 48
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 57
bulletสร้างบ้าน แบบสร้างสุขใจ 59
bulletสร้างบ้าน แบบบ้านสร้างสุขใจ 60-250
dot
dot
bulletเริ่มต้นออกแบบบ้านตรงนี้
dot
dot
bulletงานเสาเข็ม
bulletงานปั้นจั่น
bulletงานโครงสร้าง
bulletงานหลังคา
bulletงานก่ออิฐ
bulletงานฉาบปูน
bulletงานวงกบ ประตู หน้าต่าง
bulletงานฝ้า
bulletงานบันได
bulletงานพื้น งานสุขภัณฑ์
bulletงานไฟฟ้า
bulletงานประปา
bulletรวมขั้นตอนสร้างบ้าน
dot
dot
bulletวิธีเลือกบริษัทรับสร้างบ้าน
bulletความรู้เรืองแบบบ้าน
bulletทำอย่างไร สร้างบ้าน ปัญหาน้อย
bulletการรื้อถอน และการสร้างบ้าน
bulletการดูฮวงจุ้ยสร้างบ้าน ด้วยตัวเอง
bulletฤกษ์สร้างบ้าน เสาเอกนับตรงไหน
bulletฤกษ์ดีปี2024
bulletรู้ทันช่าง เลือกมารับสร้างบ้าน
bulletสร้างบ้านประหยัด
bulletสร้างบ้านอย่างไรไม่บานปลาย
bulletกฎหมายการสร้างบ้าน
bulletวิธีเลือกแบบบ้าน
bulletแบบบ้าน เรือนไทย
bullet10 ข้อดี เลือก สร้างสุขใจ รับสร้างบ้าน
bulletขั้นตอนสร้างบ้านกับเรา
bulletหลังคาบ้าน
dot
dot
bulletรับสร้างบ้านในราคาคุมค้า วัสดุเกรด A
dot
dot
bulletหินเทียม
bulletโฮมโปร วัสดุสร้างบ้าน
bulletโฮมมาร์ท วัสุดสร้างบ้าน
bulletโฮมเวิร์ค วัสดุสร้างบ้าน
bulletบุญถาวร รวมกระเบือง อุุปกรณ์ห้องน้ำ
bulletแกรนด์โฮมมาร์ท
bulletโมเดิร์นฟอร์ม
bulletเอสบีเฟอร์นิเจอร์
bulletอินเด็กซ์ลิฟทวิ่งมอลล์
bulletรวมร้านวัสดุสร้างบ้าน
dot
dot
bulletรู้ผลอนุมัติออน์ไลน์ สร้างบ้าน
bulletคำนวณวงเงินกู้ตามรายได้
bulletรวมงานขั้นตอนก่อสร้าง
bulletสร้างบ้าน แบบสุขใจ 46
dot
dot
bulletตกแต่งภายในห้องครัว
bulletตกแต่งภายใน
bulletตกแต่งภายในบ้าน
dot
dot
bulletสีหลังคา
bulletสีทาบ้าน
dot
dot
bulletแบบบ้าน ชั้นเดียว
bulletแบบบ้านสองชั้น
bulletแบบบ้าน 3 ชั้น
bulletแบบบ้าน สร้างสุขใจ
bullet แบบบ้านสวย
bulletรับซื้อที่ดินทำหมู่บ้าน
bulletต้องการซื้อที่ดินทำหมู่บ้าน
bulletติดต่อราชการ
bulletมาตรฐานการตรวจงานบ้าน
bulletบ้านจัดสรรคุณภาพ
bulletบ้านจัดสรรอริสรา
bulletโครงการบ้านจัดสรรราคาถูก
bulletเรียนภาษาอังกฤษ
bulletรับถมดิน
bulletแบบโรงงานราคาถูก
bulletรับทำรั่วราคาถูก
bulletแบบบ้านราคาถูก ประหยัด 299 บาท
bulletขายที่ดิน
bulletรับสร้างบ้านอุดรธานี
bulletรับสร้างอพาร์ทเมนต์ห้องเช่าราคาถูก
dot
dot
bulletรีวิวสร้างบ้าน


รับสร้างบ้าน
แบบบ้านชั้นเดียว
แบบบ้านราคาถูก
รับสร้างบ้าน
รับออกแบบบ้าน
ออกแบบบ้าน
รับสร้างบ้านอุดร
บ้านน๊อคดาวราคาถูก
ขายแบบบ้าน
โครงการบ้านจัดสรร


ความรู้เรืองบ้าน ความรู้เรืองแบบบ้าน ความรู้สร้างบ้าน

 

 

โครงสร้าง ฐานราก เข็ม
 
 
1 ฐานราก
คือ ส่วนที่ติดกับหัวเสาเข็ม โดยการหล่อให้เป็น ตอม่อ เพื่อรับโครงสร้างของบ้าน ส่วนนี้สำคัญมากควรทำตามแบบวิศวกรไม่ควรตัดลดเพราะเมื่อมีปัญหาจะแก้ยากมาก เพราะอยู่ใต้ดิน
2 เข็ม
คือ ส่วนที่รับน้ำหนักอยู่ใต้สุดของตัวบ้าน แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ เข็มตอก กับ เข็มเจาะ
2.1 เข็มตอก มีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม หรือรูปตัวไอ วิธีการตอกก็คือ ตอกลงไปด้วยกำลังคน หรือปั้นจั่น ก็ได้จนสุดความยาวของเข็ม
2.2 เข็มเจาะ คือ การเจาะดินลงไปก่อน แล้วหย่อนแม่แบบ เหล็กลงไปใส่เหล็กเสริมแล้วจึงเทคอนกรีตตามลงไปในหลุม
เข็มเจาะจะมีราคาสูงกว่าเข็มตอก แต่จะทำให้บ้านข้าง เคียงไม่เดือดร้อน เพราะไม่เกิดแรงสั่นสะเทือนเหมือนเข็มตอก เหมาะสำหรับบ้านที่ปลูกติดกัน
 
 
 
 
 
 
            3 ชนิดของปูนซีเมนต์
ปูนซีเมนต์แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
3.1 ปูนชนิดที่หนึ่ง เป็นปูนที่มีความแข็งแรง มีประสิทธิภาพในการยึดเกาะดี
ใช้สำหรับทำโครงสร้างที่ต้องการรับน้ำหนัก คือ ปูน Portland Cement เช่น
ปูนตราดอกจิก ตราช้าง จะมีราคาแพงกว่า
3.2 ปูนชนิดที่สอง จะมีความแข็งแรงน้อยกว่า เหมาะ สำหรับงานที่ต้องการความ ปราณีต เรียบร้อย เช่น งานฉาบปูน หรืองานก่อ ซึ่งการรับน้ำหนัก และการยึดเกาะจะสู้แบบแรก ไม่ได้ คือ ปูน Silica Cement เช่น ปูนตรางูเห่า ตราเสือ จะ มีราคาถูกกว่า
การใช้งานต้องใช้ให้ถูกประเภทของงาน มิฉะนั้นจะ ทำให้เกิดปัญหาในการรับน้ำหนัก หรือการแตกร้าวได้ ซึ่งจะ มีอันตรายมาก
4 ส่วนผสมของคอนกรีต 
สัดส่วนของคอนกรีต จะมีสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย ต่อหิน ดังนี้
สัดส่วน 1 : 1.5 : 3 จะเป็นงานเสาและโครงสร้าง
สัดส่วน 1 : 2 : 4 จะเป็นงานพื้น , คาน
สัดส่วน 1 : 2.5 : 4 จะเป็นงานถนน ฐานราก
ปูนซีเมนต์ที่ใช้จะต้องถูกต้องตามชนิดของการใช้งาน
ทรายและหินต้องสะอาด ขนาดได้ตามที่ต้องการ
การตวงวัสดุควรใช้ กะบะ ตวงที่ได้มาตรฐานแทนการ ใช้บุงกี๋ซึ่งไม่แน่นอน
 
 
 
 
5 การเทคอนกรีตอย่างถูกวิธี
ก่อนเทควรทำให้พื้นที่ที่จะเทชุ่มชื้นเสียก่อน เพื่อจะ ได้ไม่มาดูดน้ำ จากคอนกรีต
ควรเทในขณะที่คอนกรีตยังไม่แข็งตัว
เมื่อเทแล้วจะต้องไม่ให้เกิดช่องว่าง หรือเป็นโพรง คือ ต้องเข้าไปทุกซอก ทุกมุม เพื่อให้หุ้มเหล็กที่เสริมอยู่โดย ตลอด วิธีการจะทำโดยการกระทุ้งด้วยมือ หรือจะใช้เครื่องสั่น คอนกรีตก็ได้ วิธีการนี้จะทำให้โครงสร้างมีกำลังรับน้ำหนักได้เต็มที่ และมีผิวสวยงามอีกด้วย
6 การหล่อโครงสร้างบ้านที่ติดกับดิน 
โดยทั่วไปแล้วผู้รับเหมา มักจะใช้ดินหรือทรายใต้ ท้องคานเป็นแบบที่ใช้หล่อเลย ซึ่งจะทำให้คอนกรีตที่เท ลงไปนั้น จะไม่สามารถหุ้มเหล็กโครงสร้างได้ทั้งหมด ทำให้ ไม่สามารถรับแรงได้เท่าที่ควร
วิธีที่ถูกต้อง ควรจะเทคอนกรีตหยาบทับหน้าดินหรือ ทราย เพื่อเป็นท้องแบบก่อนจะดีกว่า แล้วใช้ลูกปูนหนุนเหล็ก เพื่อให้ปูนสามารถหุ้มเหล็กได้ทั้งหมด ด้วยวิธีนี้จะได้โครงสร้าง ที่ได้มาตรฐานตามที่ต้องการ
7 ปัญหาเกี่ยวกับงานโครงสร้าง
ปัญหาส่วนนี้สำคัญมาก ส่วนใหญ่เกิดจาก
7.1 แบบมีรายละเอียดไม่พอ เช่น ขนาดของเสา และ คาน จำนวนและขนาดของเหล็กเสริมต่างๆ ไม่ชัดเจน จึงทำ ให้ช่างมีโอกาสทำงานผิดพลาดได้
7.2 ชนิดของคอนกรีตและส่วนผสมต่างๆ ต้องถูกต้อง ตามชนิดของงานที่ใช้ จะใช้ชนิดของงานปูนฉาบไม่ได้
7.3 โครงสร้างที่หล่อเสร็จแล้ว ต้องเป็นเนื้อเดียวกัน ไม่มีช่องว่างหรือร่องรอยของหินหรือเหล็กโผล่ให้เห็น เพราะ จะทำให้โครงสร้างรับแรงไม่ได้ดีเท่าที่ควร
7.4 เมื่อหล่อเสร็จแล้ว อย่าลืมการบ่มคอนกรีต คือ การนำกระสอบที่ชุ่มน้ำมาห่อหุ้มไว้ เพื่อป้องกันการแตกร้าว
8 ปัญหาการทรุดตัวของบ้าน 
การก่อสร้างเป็นปัญหาที่พบมาก เนื่องจากก่อสร้างจะ ต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดโดยผู้มีความชำนาญ เช่น การ ตอกเสาเข็ม ซึ่งรองรับฐานรากของอาคาร อาจเกิดเข็มแตก เข็มหักอยู่ใต้ดิน ทำให้ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่คำนวณไว้
ปัญหาจากการต่อเติมและดัดแปลง มีการกั้นห้องเพิ่ม เติม มีแนวผนังไม่ตรงแนวคาน ก็เป็นสาเหตุทำให้บ้านทรุดตัว แตกร้าวได้
ปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ซึ่งในบ้าน เราพบน้อย เพราะไม่ได้อยู่แนวเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ไม่ เหมือนในต่างประเทศ
9 ปัญหาน้ำซึมเข้าบ้าน
ก่อนอื่นต้องทราบสาเหตุการรั่วซึมก่อน
อาจจะเกิดจากท่อระบายน้ำที่ฝั่งอยู่ในบ้านแตกร้าว แก้โดยการเปลี่ยนท่อใหม่
ส่วนหลังคาคอนกรีตที่มีท่อระบายน้ำ ควรมีท่อน้ำ ล้นด้วย แต่ถ้ายังเกิดการแตกร้าว วิธีแก้ คือ ปูแผ่นยางกัน ซึมแล้วเททับด้วยคอนกรีตผสมน้ำยากันซึมอีกที
อาจจะเกิดรอยต่อของโครงสร้างบ้านระหว่าง คานกับ ผนัง วิธีแก้โดยการสกัดให้เป็นร่อง แล้วอุดด้วยกาวคอนกรีต
 
 
 
10 ปัญหาการต่อเติมบ้าน 
ในกรณีที่เป็นบ้านชั้นเดียวจะต่อเป็น 2 ชั้น ถ้าตอน ที่สร้างไม่ได้เผื่อเสาเข็มไว้สำหรับ
2 ชั้น ก็ห้ามต่อเติมเป็น 2 ชั้นอย่างเด็ดขาด เพราะอาจพังลงมาก็ได้
ในกรณีที่ต่อเติมบางส่วน ก็ควรปรึกษาวิศวกรก่อน เพราะการออกแบบโครงสร้าง
จะเผื่อน้ำหนักปลอดภัยไว้ ถ้าเรามาต่อเติมส่วนนี้บ้านจะไม่ปลอดภัย เพราะจะทำให้โครง สร้างรับน้ำหนักมากเกินไป
11 วิธีการป้องกันปลวก
ปลวกแบ่งออกเป็น ชนิด คือ
11.1 ปลวกไม้แห้ง เป็นปลวกที่เข้าสู่ตัวบ้านโดยบินเข้ามา หรือที่เรียกว่า " แมลงเม่า"
จะอยู่ตามซอกไม้ใต้หลังคา
11.2 ปลวกใต้ดิน เป็นปลวกที่ทำให้บ้านเสียหายมากที่สุด จะเข้ามาโดยทำเป็นท่อลำเลียงมาจากใต้พื้นดิน
วิธีป้องกัน คือ ใช้น้ำยาทาไม้เพื่อป้องกันปลวกไม้แห้ง ใช้น้ำยาราดลงไปในดิน เพื่อป้องกันปลวกใต้ดิน
 
 
 
 
 
 
 
ผนัง
 
 
1 ผนังอิฐมอญ หรือเรียกว่า อิฐแดง จะมีขนาดเล็ก การก่อจะ เสียเวลามาก
มีน้ำหนักมาก ราคาจะแพง แต่มีความแข็งแรง ทนทาน
 
2 ผนังอิฐบล็อค จะมีความเปราะแตกง่าย มีน้ำหนักเบา ถ้าก่อ เป็นผนังของอาคารหลายชั้น จะทำให้ประหยัดโครงสร้างได้ มาก ราคาจะถูกกว่า
3 การก่อผนังอิฐ
ก่อนอื่นต้องนำอิฐไปแช่น้ำ เพื่อเวลาก่ออิฐ น้ำปูนจะ ได้ไม่โดนดูดออกไป เมื่อก่อเสร็จทิ้งไว้สักระยะหนึ่ง เพื่อให้ ผนังระบายความร้อนออกมา แล้วจึงเริ่มฉาบปูน
การฉาบต้องใช้ปูนทรายทำปุ่มขึ้นมาบนผนัง และตรง มุม เพื่อแสดงแนวความหนาของปูนฉาบ ซึ่งจะทำให้เรียบสม่ำ เสมอกัน ไม่หนาเกินไปจนทำให้ปูนฉาบแตกได้ และสัดส่วน ของปูนฉาบต้องถูกต้อง หลังจากนั้น ทิ้งผนังให้แห้งสนิทก่อน จึงทาสีได้
4 สาเหตุการแตกร้าวของผนังปูนฉาบ
4.1 อาจเกิดจากชนิดของปูนซีเมนต์ไม่เหมาะสมกับ ประเภทงานฉาบผนัง และสัดส่วนการผสมปูนฉาบ
4.2 ผสมปูนขาวมากไป ตามปกติช่างจะผสมปูนขาว ลงไปเล็กน้อยในปูนฉาบ เพราะจะทำให้ลื่นฉาบง่าย แต่ถ้า มากเกินไปก็จะแตกร้าวได้
4.3 การเตรียมงานฉาบไม่ดีพอ ผนังก่ออิฐจะดูดซึม น้ำได้มาก ถ้าไม่มีการราดน้ำให้ชุ่มก่อน ก็จะเป็นสาเหตุให้ เกิดการแตกร้าวได้
4.4 ผนังก่ออิฐไม่สม่ำเสมอ จะทำให้ปูนฉาบมีความ หนาไม่เท่ากัน ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่ง
5 การซ่อมผนังด้วยกาวคอนกรีต
พื้นที่ที่จะใช้ต้องแห้งสนิทปราศจากฝุ่นและคราบน้ำมัน อย่าฉาบลงบนพื้นที่ที่เปียกอยู่
ถ้าเป็นรอยแตกร้าว ควรสกัดให้ผิวกว้างพอประมาณ
เมื่อกาวคอนกรีตแข็งตัว จะรับแรงได้เล็กน้อยในเวลา 2-3 ชม. แต่จะรับแรงเต็มที่
ต้องให้ครบ 72 ชม.
ในกรณีที่เกิดรอยร้าวจากการทรุดตัวของตัวบ้านต้องใช้เมื่อหยุดการทรุดตัวแล้ว มิฉะนั้นจะแตกร้าวอีก กาวชนิดนี้ยังสามารถใช้กับการรั่วซึมของกระเบื้องหลังคาได้ด้วย
6 สาเหตุที่ผนังภายนอกแตกร้าว
ผนังภายนอก เมื่อถูกแสงแดดมากๆ ก็จะสะสมความ ร้อน ทำให้ปูนขยายตัว เกิดการแตกร้าวได้
ถ้าเป็นผนังที่กำลังก่อสร้าง ก็ควรเซาะร่องแบ่งพื้นที่ ให้เล็กลง เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวปูนดันกันแตก
การซ่อมแซม ควรใช้วัสดุที่มีความยืดหยุ่นอุดเข้า ไปในส่วนที่แตกร้าว เพื่อให้ขยายตัวได้
ส่วนการแตกร้าวที่เกิดจากการทรุดตัวของโครงสร้าง จะแก้วิธีนี้ไม่ได้ เพราะถ้าแก้แล้วก็จะแตกร้าวอีก
7 การแก้ผนังแตกร้าวที่เกิดจากวัสดุต่างชนิดกัน 
สำหรับวัสดุที่ต่างชนิดกัน เช่น คอนกรีตเสริมเหล็กกับผนังก่ออิฐเมื่อเวลาเราฉาบปูน
วัสดุทั้ง 2 ชนิด จะมีความ แตกต่างในการดูดความชื้นไม่เท่ากัน จึงทำให้เมื่อฉาบปูนเสร็จ
แล้ว จะเกิดรอยแตกร้าวในบริเวณนี้
วิธีแก้ไขก็คือ ก่อนการฉาบปูนในบริเวณนี้ ควรปู ด้วยตะแกรงเหล็กตาข่ายก่อน
เพราะเมื่อฉาบปูนแล้วจะทำ ให้เกิดการยึดเกาะดีขึ้น ทำให้ไม่แตกร้าว และวิธีนี้ยังสามารถ ใช้ได้กับบริเวณที่เดินท่อประเภทต่างๆได้ด้วย
8 ผนังยิบซั่มบอร์ด
ผนังยิบซั่มมีคุณสมบัติในเรื่องของการติดตั้งได้สะดวก มีความแข็งแรงทนทาน มีความสามารถในการป้องกันไฟ ป้อง กันเสียง อีกทั้งยังป้องกันความร้อนได้ นอกจากนั้นเป็นวัสดุที่ มีน้ำหนักเบา คือ ประมาณ 30 กิโลกรัม/ตารางเมตร สามารถ ต่อเติมผนังได้ทุกส่วนของบ้านโดยไม่ทรุดตัว และที่สำคัญใน เรื่องของความเรียบได้ระนาบของผนัง ไม่ก่อให้เกิดความเลอะ เทอะ เพราะเป็นระบบแห้งและไม่มีปัญหาผิวผนังแตกร้าวเหมือน กับผนังก่ออิฐฉาบปูน สามารถตกแต่งทาสี ติดวอลล์เปเปอร์ได้ สวยงาม เหมาะสำหรับใช้ในอาคาร
 
 
 
9 ผนังยิบซั่มบอร์ดกับการป้องกันไฟ 
วัสดุที่นำมาสร้างบ้าน ควรเป็นวัสดุทนไฟ้ได้นานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยเฉพาะผนังห้องเพื่อถ่วงเวลาให้คนหนีออกมาได้ก่อนการลุกลามของไฟ หากต้านทานได้ไม่ดีพอจะทำให้อุณหภูมิภายนอกที่เกิดเพลิงไหม้ มีความร้อนสูงถึงจุดที่สิ่งของจะสามารถลุกไหม้ได้เองโดยไม่ต้องมีเปลวไฟ ผนังยิบซั่มมีคุณสมบัติในการป้องกันไฟได้ดีผนังยิบซั่มที่มีความหนาขนาด 12 มม.และ 15 มม. สามารถทนไฟได้ตั้งแต่ 1/2 ถึง 4 ชั่วโมง เนื่องจากเนื้อยิบซั่มมีผลึกน้ำเมื่อเวลาโดนไฟ น้ำจะระเหยออกมาเป็นการต้านทานการส่งผ่านความร้อนไปอีกด้านหนึ่งของผนัง ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวผนังยิบซั่มจึงเหมาะสำหรับใช้ในการป้องกันไฟได้เป็นอย่างดี
10 การติดตั้งผนังยิบซั่มบอร์ด
การติดตั้งผนังยิบซั่มบอร์ดให้มีความแข็งแรง ทนทาน เหมาะสมกับการใช้งาน มีวิธีดังนี้
10.1 ควรใช้โครงเคร่าเหล็กชุบสังกะสี ที่มีความหนาอย่าง น้อย 0.55 มม. และมีขนาดหน้าตัดอย่างน้อย 76 x 32 มม. ทั้งโครงเคร่าตัวตั้งและตัวนอน ความหนาของแผ่นยิบซั่มอย่าง น้อย 12 มม. ระยะห่างโครงเคร่าไม่ควรเกิน60 ซม.
10.2 โครงเคร่าเหล็กชุบสังกะสี ต้องได้มาตรฐานอุตสาห กรรม โดยตรวจสอบกับบริษัทผู้ผลิตที่เชื่อถือได้ สำหรับพุกที่ใช้ ยึดกับโครงสร้างอาคาร หรือพื้นควรเป็นพุกเหล็ก EXPANSION BOLT
10.3 หากต้องการความแข็งแรงมากขึ้น ก็สามารถเลือก ใช้โครงเคร่าเหล็กที่มีขนาดหน้าตัดที่ใหญ่ขึ้น หรืออาจเพิ่มความ หนาของแผ่นยิบซั่มเป็น 15 มม. หรือใช้แผ่นซ้อนกัน 2 ชั้นก็ ได้ นอกจากนี้ยังสามารถร่นระยะห่างโครงเคร่าจาก 60 ซม. เป็น 40 ซม.
11 การทำผนังบ้านเพื่อป้องกันความร้อนและเสียงรบกวน 
สามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน เช่น ทำกระจกสองชั้นประกบกัน โดยเว้นช่องว่างตรงกลางเอาไว้ หรืออาจจะทำผนังเป็นแผ่นอคูสติกบอร์ดแต่สองแบบที่กล่าวมาอาจจะมีราคาสูงแต่มีอีกวิธีหนึ่งที่ราคาไม่สูงมากและทำเองได้ คือ การยึดแผ่นไมโครไฟเบอร์ติดกับผนังเดิม แผ่นไมโครไฟเบอร์จะช่วยดูดซับเสียงและความร้อนที่ผ่านผนังชั้นนอกเข้ามาทำให้อุณหภูมิภายในห้องนั้นลดลงเสียงรบกวนก็จะน้อยลงซึ่งจะประหยัดพลังงานไฟฟ้าในส่วนเครื่องปรับอากาศเหมาะสำหรับห้อง HOME THEATER ห้องฟังเพลงหรือห้องนอน
12 การปูกระเบื้องโมเสคบนที่สูง
การปูกระเบื้องโมเสค โดยทั่วไปจะปูด้วยปูนผสม กับทราย หรือถ้าดีขึ้นมาอีกหน่อยก็จะปูด้วยซีเมนต์ขาว ซึ่ง จะมีคุณสมบัติแห้งช้า ทำให้มีเวลาจัดแต่งแนวกระเบื้องให้ เรียบร้อยสวยงามมากยิ่งขึ้น
แต่ในกรณีที่จะต้องปูโมเสคบนที่สูง เช่น ผนังบ้าน หรือส่วนยอดของบ้าน ที่ดีที่สุดควรปูด้วยกาวชนิดพิเศษสำหรับ ปูโมเสคโดยเฉพาะ กาวชนิดนี้จะมีคุณสมบัติในการยึดเกาะสูง มาก เมื่อปูแล้วยากที่จะหลุดร่อนลงมา เพราะเมื่ออยู่บนที่สูง ถ้าหลุดลงมาอาจจะเป็นอันตรายมาก แต่การปูด้วยกาวควรจะ วางแผนการปู้ให้ดี เพราะถ้ากาวแห้งแล้วจะไม่สามารถแกะออก มาได้ หรือถ้าแกะออกได้ก็จะทำให้กระเบื้องโมเสคเสียหาย
 
 
 
13 ปัญหา "วอลล์เปเปอร์" ขึ้นรา 
มีสาเหตุมาจากความชื้น ซึ่งอาจจะมาทางพื้น ฝ้า เพดาน หรือผนัง ซึ่งมีท่อฝังไว้เกิดการรั่วซึม หรือผนังที่ติด กับห้องน้ำที่มีความชื้นได้เช่นกัน
วิธีแก้ไข ก็คงต้องลอกส่วนที่ขึ้นราออก แล้วแก้ไข สาเหตุที่ทำให้เกิดความชื้นเสียก่อน เมื่อแก้เรียบร้อยแล้ว จึงเรียกช่างมาปิดวอลล์เปเปอร์ทับอีกทีหนึ่ง แต่ต้องเป็นลาย เดียวกัน
14 สีน้ำพลาสติค
สีน้ำพลาสติคผลิตจากวัตถุดิบจำพวก "โพลีไวนิล อะซิเตท" สีน้ำพลาสติคที่ดีจะต้องผสมสารที่ป้องกันเชื้อรา หรือผงสีชนิดที่ทนทานต่อแสงแดดและการเช็ดล้าง สีชนิดนี้ ใช้ได้ดีกับผนังปูนฉาบคอนกรีต หรือกระเบื้องแผ่นเรียบ ใช้ ได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร มีสีต่างๆ ให้เลือกมากมาย และราคาค่อนข้างประหยัด
15 สีอะครีลิดกึ่งเงา 
สีที่ใช้ทาภายนอกอาคารโดยทั่วไปจะใช้สีน้ำพลาสติค ชนิดอะครีลิค 100 % เพราะเป็นสีที่ทนต่อทุกสภาพอากาศ แต่สีชนิดนี้จะมีผิวที่ด้าน ซึ่งเป็นสาเหตุของการจับยึดของฝุ่น ละอองและคราบสกปรกในอากาศ ถ้าหากต้องการหลีกเลี่ยง ความสกปรกดังกล่าวใช้สีอะครีลิคชนิดกึ่งเงาแทน เพราะสีชนิด นี้เนื้อสีจะลื่น ทำให้พื้นผิวเป็นฟิล์มเรียบลดการจัดยึดของฝุ่น ละอองและคราบสกปรกต่างๆ แต่เนื่องจากผิวเงาอาจเป็น สาเหตุของการเกิดลอนคลื่นบนผนังฉาบปูน เมื่อโดนแสงส่อง ฉะนั้นผิวปูนฉาบจะต้องเรียบสนิท สำหรับผนังภายในที่ต้องการ ความสะดวกในการทำความสะอาด เช่น ห้องครัว การใช้สีชนิด นี้ในการทาผนังและฝ้าเพดาน ก็จะช่วยลดปัญหาในการทำความ สะอาดได้
16 สีนูน
สีนูนจะประกอบจากอะครีลิคเรซินของซิลิกาและควอตซ์ ซึ่งทำให้พื้นผิวมีลวดลายและ
สวยงาม ทั้งยังช่วยในการยึดเกาะ กับพื้นผิวได้ดี สำหรับผิวผนังที่มีรอยร้าวหรือฉาบปูนไม่เรียบ ก็ สามารถกลบเกลื่อนได้ กรรมวิธี จะใช้การพ่นหรือลูกกลิ้งก็ได้ โดยทำบนผิว คอนกรีต แผ่นยิบซั่ม หรือกระเบื้องแผ่นเรียบก็ได้ และใช้ได้ทั้ง ภายนอกและภายใน
17 สีอีพ็อกซี 
สีอีพ็อกซี่เป็นสีสำหรับกันสนิมทนต่อกรดและด่างได้เป็นอย่างดี สามารถกันน้ำซึมได้ทาได้หนาๆ โดยสีไม่ย้อย ทาง่าย แห้งเร็ว เหมาะสำหรับใช้ทาโลหะและคอนกรีต เช่น ทาเรือ ท่อน้ำประปาและกระเบื้องหลังคา
18 สีทาไม้
สำหรับไม้ที่ต้องการทาสี สีที่ใช้ควรเป็นสีน้ำมัน หรือ สีที่ใช้ทาไม้โดยเฉพาะ ถ้าเป็นสีอะครีลิค 100 % จะช่วยใน การยึดเกาะที่ดี และยืดหยุ่นไม่แตกร้าวเวลาไม้เกิดการยืดหดตัว
สำหรับไม้ที่ต้องการโชว์ลายไม้ ส่วนใหญ่จะใช้แลคเกอร์ หรือเชอร์แลค แต่ทุกวันนี้เรามีสารที่เรียกว่า "โพลียูรีเทน" ซึ่ง ช่วยในการป้องกันเนื้อไม้ได้ดีกว่า ทั้งยังให้ความเงางามอีกด้วย
สำหรับโครงไม้ต่างๆ ที่อยู่ด้านในไม่ต้องทาแลคเกอร์ หรือสีน้ำมัน แต่ต้องทาน้ำยากันปลวก
19 วิธีการทาสี
ในกรณีที่เตรียมพื้นผิวที่จะทาไม่ดีพอ หรือผิวไม่เรียบ การใช้แปรงทาจะทำให้สีสัมผัสกับผิวผนังในซอกมุมต่างๆ ได้ ดีกว่าการใช้ลูกกลิ้ง
แต่ในพื้นที่มากๆ การใช้ลูกกลิ้งจะสะดวกกว่า ทาได้ เร็วกว่า และยังใช้กับประเภทสีที่มีลวดลายต่างๆ ที่สวยงามได้ เช่น สีนูน แต่จะใช้ปริมาณของสีมากกว่าการใช้แปรงเล็กน้อย
 
 20 ปัญหาสีลอก
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการเตรียมผิวไว้ไม่ดี เช่น
20.1 ไม่ทิ้งผนังไว้ให้แห้งสนิทพอ
20.2 มีฝุ่นเกาะมาก ไม่ทำความสะอาดให้ดีพอ ต้อง ขัดและล้างน้ำให้สะอาด
20.3 ผนังมีสภาพเป็นกรด เป็นด่าง สำหรับผนังพื้น ผิวใหม่ จะมีสภาพเป็นกรด ก่อนทาสีจะต้องรองพื้นด้วยสี รองพื้นปูนกันด่าง ซึ่งทำมาจากอะครีลิคเรซิน
20.4 ทาสีไม่ครบจำนวนครั้งที่บริษัทสีระบุ
สำหรับพื้นผิวเก่าที่ขึ้นรา ต้องขัดล้างด้วยน้ำยาฆ่า เชื้อรา แล้วใช้น้ำล้างให้สะอาดก่อนทา
21 ปัญหาสีผนังส่วนที่ติดพื้นดินหลุด 
เกิดจากความชื้นใต้ดินที่ซึมผ่านขึ้นมาที่ผนัง มีวิธี ป้องกันต้องทำ ก่อนที่จะเทพื้น โดยปูแผ่นพลาสติคบนพื้นที่ ปรับระดับ แล้วจึงวางเหล็ก เทพื้นคอนกรีตที่ผสมน้ำยากันซึม และก่อนการปูวัสดุปูผิวต้องผสมน้ำยากันซึมในส่วนปูนทราย ที่ใช้สำหรับปรับผิว
อีกวิธีหนึ่ง คือ การยกพื้นชั้นล่างให้สูงขึ้น ก็จะช่วย เรื่องความชื้นได้ สำหรับอาคารที่สร้างมาแล้ว วิธีแก้ไขคงทำ ได้ยาก แต่ก็มีวิธีที่พอจะบรรเทาได้ โดยทำผนังส่วนที่ติดดิน เป็นผิวปูนขัดมันสูงขึ้นมา10 - 15 ซม. แล้วค่อยเริ่มทาสี โดยใช้สีในส่วนที่ฐานผนัง เป็นสีชนิดกันเชื้อรา
 
 

ความรู้เรื่องแบบบ้านชั้นเดียว

ต้องละเอียด เผื่อป้องกันปัญหาระหว่างก่อสร้าง ที่ใช้เป็นข้อมูล และดูรายละเอียด สร้างบ้านได้มาตรฐานหรือไม่  ในการสร้างบ้าน การที่ให้บริษัทรับสร้างบ้าน ที่มีแบบบ้านชั้นเดียวไม่ละเอียด จะทำให้เกิดปัญหา อย่างมาก
 

แบบบ้านชั้นเดียวที่ใช้ก่อสร้างที่อยู่ในขั้นตอนการทำงานโดยทั่วไปจะมี 3 ลักษณะ คือ

  1. แบบร่าง : แบบร่างได้จากการทำแบบบ้านชั้นเดียวขึ้นตามความต้องการภายใต้ข้อมูลการออกแบบเบื้องต้นที่สถาปนิกผู้ออกแบบได้รับมา และถ่ายทอดให้เป็นไปตามแบบที่ตรงความต้องการเจ้าของมากที่สุด ประกอบด้วย

    - แปลนพื้นทุกชั้น

    - รูปด้าน

    - ภาพทัศนียภาพ (Perspective)

     
  2. แบบขออนุญาตก่อสร้าง : เป็นแบบก่อสร้างที่จะต้องทำให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้าง และจะต้องส่งแบบบ้านชั้นเดียวเพื่อขออนุญาตก่อสร้างตามข้อกำหนดต่าง ๆที่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นกำหนดไว้ ประกอบด้วย

    - รายการประกอบแบบบ้านชั้นเดียว : บอกถึงรายละเอียดวัสดุ โครงสร้าง ข้อกำหนดของวัสดุ กำลังวัสดุที่ออกแบบบ้านชั้นเดียวไว้

    - ผังบริเวณก่อสร้าง : บอกถึงขอบเขตที่ดิน แนวถอยร่นของตัวอาคารตามพระราชบัญญัติ ระบบบำบัดน้ำเสียและแนวท่อระบายน้ำ รวมถึงตำแหน่งการระบายน้ำออกสู่ระบบระบายน้ำสาธารณะ ทิศของตำแหน่งอาคาร ซึ่งแบบผังบริเวณนี้จะเป็นแบบบ้านชั้นเดียวที่ใช้วางตำแหน่งของอาคารในพื้นที่จริงและจะถูกตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในพื้นที่จริงว่าถูกต้องหรือไม่

    - แผนที่สังเขป : บอกถึงแผนที่ตั้งของสถานที่ก่อสร้างเพื่อประโยชน์ในการเข้าตรวจสอบพื้นที่จริงของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น และประโยชน์ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง

    - แปลนพื้นทุกชั้น และ แปลนหลังคา

    - รูปด้าน อย่างน้อย 2 ด้าน (ส่วนใหญ่จะทำรูปด้านทั้ง 4 ด้าน)

    - รูปตัด อย่างน้อย 2 รูป

    - รูปขยายบันได พร้อมรูปตัดบันได (กรณีอาคาร 2 ชั้นขึ้นไป)

    - รูปขยายห้องน้ำ

    - แปลนโครงสร้างทุกชั้น และแปลนโครงสร้างหลังคา

    - รูปขยายโครงสร้าง

    - แปลนระบบสุขาภิบาล

    - แบบขยายระบบระบบบำบัดน้ำเสีย

    - รายการคำนวณโครงสร้างของวิศวกร พร้อมสำเนาใบประกอบวิชาชีพ+สำเนาบัตรสมาชิกสภาวิศวกร

    - สำเนาใบประกอบวิชาชีพสถาปนิก (ในกรณีต้องใช้)

    - หนังสือรับรองการออกแบบของวิศวกรและสถาปนิก (ในกรณีต้องใช้)

    - หนังสือรับรองการควบคุมงานของวิศวกรและ/หรือสถาปนิก (แล้วแต่ข้อตกลงในกรณีต้องใช้)

    หากท่านได้จัดจ้างให้ผู้ออกแบบทำแบบยื่นขออนุญาตก่อสร้างท่านจะต้องได้เอกสารเหล่านี้ครบถ้วน (ส่วนใหญ่จะเป็นขอบเขตงานแบบของการทำงานจากสำนักงานเขต,เทศบาลหรือ อ.บ.ต. บางแห่ง) แต่หากขอบเขตงานคือทำแบบเพื่อการก่อสร้าง จะต้องมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นตามข้อ 3

     
  3. แบบประกอบการก่อสร้าง : แบบก่อสร้างจะต้องมีรายละเอียดของแบบมากกว่าแบบขออนุญาตก่อสร้างเพิ่มขึ้นดังนี้ (ผู้จัดทำแบบส่วนใหญ่จะทำแบบสมบูรณ์ทั้งชุดเป็นแบบก่อสร้าง)

    - รูปด้าน 4 ด้าน

    - รูปขยายห้องน้ำ พร้อม มาตรฐานการติดตั้งสุขภัณฑ์

    - รูปขยายประตู-หน้าต่าง

    - แปลนระบบไฟฟ้า

    - แปลนระบบประปา
 
 
 
 



แบบบ้าน ชั้นเดียว

แบบบ้าน article
แบบบ้านสวยสองชั้น article
แบบบ้าน D-218
แบบบ้าน ชั้นเดียว



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
หน้าหลัก
              
แบบบ้าน
               
ผลงานรับสร้างบ้าน
                             
แบบฟอร์มสร้างบ้านกับเรา
                                        
ติดต่อสร้างสุขใจ
                         
สัญญาว่าจ้าง
          
            
รับสมัครงาน
                   
 บอร์ด
          

แบบบ้าน